จัดทำโดย อ. สุชาติ ภูวรัตน์
นธ.เอก, บาลีประโยค 1-2
(อดีตพระธรรมทูตต่างประเทศ)
B.S. Engineering Design Tech.
B.A. ศาสนศาสตร์บัณฑิต
B.S. Computer Information Systems
B.TM. แพทย์แผนไทยบัณฑิต
สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
บ.ภ., พท.ว., พท.ผ., พท.น.
ครูแพทย์แผนไทย 4 ด้าน
ศูนย์การแพทย์แผนไทยภูเก็ต
ทำเพื่อการศึกษาและประโยชน์แก่ผู้ชม
เภสัชกรรมไทย
ตัวยาเรียกได้หลายชื่อ
ตัวยาที่เรียกได้ 2 ชื่อนี้ มิได้เป็นมาตรฐานเท่าใดนัก บางตำราก็เรียกไปอีกอย่างหนึ่ง ซึ่งไม่เหมือนกับตำราที่กล่าวไว้นี้ เพราะด้วยประเทศถิ่นที่อยู่นั้น เรียกกันตามที่อยู่ของตนไป เมื่อรวมความแล้วก็เป็นตัวยา อย่างเดียวกัน มีดังนี้
1. ต้นทิ้งถ่อน
เรียกอีกชื่อว่า พระยาฉัตรทัน
2. ต้นตะโกนา
เรียกอีกชื่อว่า พระยาช้างดำ
3. หนาวเดือนห้า
เรียกอีกชื่อว่า พระขรรค์ไชยศรี
4. ร้อนเดือนห้า
6. กระพังโหมเล็ก
เรียกอีกชื่อว่า ตูดหมา
7. กระพังโหมน้อย
เรียกอีกชื่อว่า ขี้หมาข้างรั้ว
8. ผักบุ้ง
14. ต้นช้าพลู
15. เปรียงพระโค
18. ขี้ยาฝิ่น
เรียกอีกชื่อว่า ขี้คารู
19. สุรา
เรียกอีกชื่อว่า กูอ้ายบ้า
20. น้ำครำ
เรียกอีกชื่อว่า น้ำไขเสนียด
(น้ำครำ คือ น้ำขังอยู่ใบปรัก
ที่ไหลออกจากครัว)
21. ต้นปีบ
เรียกอีกชื่อว่า ก้องกลางดง
22. ต้นชะเอม
เรียกอีกชื่อว่า อ้อยสามสวน
เรียกอีกชื่อว่า ผักไห
24. เถาโคกกระสุน
เรียกอีกชื่อว่า กาบินหนี
25. ก้างปลา
เรียกอีกชื่อว่า ปู่เจ้าคาคลอง
26. เกลือกระตังมูตร
เรียกอีกชื่อว่า เกลือเยี่ยว
27. เถากระไดลิง
เรียกอีกชื่อว่า กระไดวอก
28. กำมะถันเหลือง
เรียกอีกชื่อว่า
สุพันถันเหลือง, มาดเหลือง
29. กระบือเจ็ดตัว
เรียกอีกชื่อว่า กระทู้เจ็ดแบก
เรียกอีกชื่อว่า กรัก
31. หญ้าพองลม
เรียกอีกชื่อว่า ปู่เจ้าลอยท่า
32. กำแพงเจ็ดชั้น
เรียกอีกชื่อว่า ตะลุ่มนก
33. กาสามปีก
เรียกอีกชื่อว่า
กาจับหลัก, หญ้าสองปล้อง
เรียกอีกชื่อว่า หัวร้อยรู
35. ต้นกำลังช้างเผือก (กำลังช้างสาร)
เรียกอีกชื่อว่า พระยาช้างเผือก
36. ต้นกำลังวัวเถลิง
เรียกอีกชื่อว่า กำลังทรพี
เรียกอีกชื่อว่า
กำลังพระยาเสือโคร่ง
38. ต้นกำลังหนุมาน
เรียกอีกชื่อว่า กำลังราชสีห์
เรียกอีกชื่อว่า ตำเสา
เรียกอีกชื่อว่า ผักหนอก
41. ขอบชะนางแดง
เรียกอีกชื่อว่า หนอนตายหยากแดง
42. ขอบชะนางขาว
เรียกอีกชื่อว่า หนอนตายหยากขาว
43. ดอกสลิด
เรียกอีกชื่อว่า ดอกขจร
44. ต้นกรรณิกา
เรียกอีกชื่อว่า สุพันนิกา
45. ดอกคำฝอย
เรียกอีกชื่อว่า คำยอง
46. ดอกคำไทย
เรียกอีกชื่อว่า ดอกชาติ
47.ฆ้องสามย่านตัวผู้ (นิลพัต)
เรียกอีกชื่อว่า ต้นคว่ำตายหงายเป็น
48. ต้นเหงือกปลาหมอ
เรียกอีกชื่อว่า ต้นแก้มคอ (แก้มหมอ)
49. ต้นฆ้องสามย่าน
เรียกอีกชื่อว่า ส้มกระเช้า
50. ต้นจามจุรี
เรียกอีกชื่อว่า ก้ามกราม, ก้ามปู
51. ต้นช้างงาเดียว
เรียกอีกชื่อว่า หนามคาใบ
52. ต้นตีนเป็ดเครือ
เรียกอีกชื่อว่า เถาเอ็นอ่อน
53. ต้นตีนเป็ดต้น
เรียกอีกชื่อว่า พระยาสัตบัน
54. ต้นตีนเป็นน้ำ
เรียกอีกชื่อว่า พะเนียงน้ำ
55. เม็ดเทียนขาว
เรียกอีกชื่อว่า ยี่หร่า
56. เทียนตาตั๊กแตน
เรียกอีกชื่อว่า ผักชีลาว
57. ต้นเทียนเยาวพาณี
เรียกอีกชื่อว่า ผักชีกระเหรี่ยง
58. ต้นโทงเทง
เรียกอีกชื่อว่า โคมจีน, โคมญี่ปุ่น
เรียกอีกชื่อว่า ลิ้นงูเห่า
60. ผักเสี้ยนผี
เรียกอีกชื่อว่า ไปนิพพานไม่รู้กลับ
เรียกอีกชื่อว่า โล่ติ๊น
62. หางไหลแดง
เรียกอีกชื่อว่า กะลำเพาะ
เรียกอีกชื่อว่า ลูกสมอไทย
64. สมอร่องแร่ง
คือ ลูกสมอชนิดหนึ่งก้านยาว
ห้อยร่องแร่งอยู่
65. บอระเพ็ดตัวผู้ คือ เถาชิงช้าชาลี
65 (ก). บอระเพ็ดตัวเมีย
คือ เถาบอระเพ็ดที่มีตุ่ม
ตัวยาเรียกได้หลายชื่อ (ต่อ)
ทำเพิ่มเติมเพื่อสะดวกในการจำ
(ลักษณะตัวยาสมันไพร ให้คูข้างบนนี้ได้)
(1). พระยาฉัตรทัน
เรียกอีกชื่อว่า ต้นทิ้งถ่อน
(2). พระยาช้างดำ
เรียกอีกชื่อว่า ต้นตะโกนา
(3). พระขรรค์ไชยศรี
เรียกอีกชื่อว่า หนาวเดือนห้า
(4). ต้นมะไฟเดือนห้า
เรียกอีกชื่อว่า ร้อนเดือนห้า
(5). ตูดหมู
เรียกอีกชื่อว่า กระพังโหมใหญ่
(6). ตูดหมา
เรียกอีกชื่อว่า กระพังโหมเล็ก
(7). ขี้หมาข้างรั้ว
เรียกอีกชื่อว่า กระพังโหมน้อย
(8). ผักทอดยอด
เรียกอีกชื่อว่า ผักบุ้ง
(9). ผักรู้นอน
เรียกอีกชื่อว่า ผักกระเฉด
(10). ปู่เจ้าสมิงกุย
เรียกอีกชื่อว่า ต้นชิงชี่
(11). ปู่เจ้าเขาเขียว
หรือหญ้าภัคคีนี
เรียกอีกชื่อว่า เถาหญ้านาง
(12). ประทุมราชา
เรียกอีกชื่อว่า
เท้ายายม่อม (ดอกแดง)
(13). ลุกใต้ดิน (ไฟใต้ดิน)
เรียกอีกชื่อว่า
เจตมูลเพลิง (แดง)
(14). ผักอีไร
เรียกอีกชื่อว่า ต้นช้าพลู
(15). น้ำมันในไขข้อกระดูกโค
เรียกอีกชื่อว่า เปรียงพระโค
(16). กินตีนท่า
หรือหากินตีนท่า
เรียกอีกชื่อว่า ผักเป็ด
(ผักเป็ด คือ ผักเป็ดแดง ผักเป็ดขาว)
(17). อยู่หลังคา
(นมจาก)
เรียกอีกชื่อว่า
หยากไย่ไฟ, หญ้ายองไฟ
(หญ้ายองไฟ คือ เขม่าไฟที่ติดหยากไย่
เป็นเส้นห้อยอยู่ตามหลังคาครัวไฟ)
(18). ขี้คารู
เรียกอีกชื่อว่า ขี้ยาฝิ่น
(19). กูอ้ายบ้า
เรียกอีกชื่อว่า สุรา
(20). น้ำไขเสนียด
เรียกอีกชื่อว่า น้ำครำ
(น้ำครำ คือ น้ำขังอยู่ใบปรัก
ที่ไหลออกจากครัว)
(21). ก้องกลางดง
เรียกอีกชื่อว่า ต้นปีบ
(22). อ้อยสามสวน
เรียกอีกชื่อว่า ต้นชะเอม
(23). ผักไห
เรียกอีกชื่อว่า เถามะระขี้นก
(24). กาบินหนี
เรียกอีกชื่อว่า เถาโคกกระสุน
(25). ปู่เจ้าคาคลอง
เรียกอีกชื่อว่า ก้างปลา
(ก้างปลา คือ
ก้างปลาแดง ก้างปลาขาว)
(26). เกลือเยี่ยว
เรียกอีกชื่อว่า เกลือกระตังมูตร
(27). กระไดวอก
เรียกอีกชื่อว่า เถากระไดลิง
(28). สุพันถันเหลือง, มาดเหลือง
เรียกอีกชื่อว่า กำมะถันเหลือง
(29). กระทู้เจ็ดแบก
เรียกอีกชื่อว่า กระบือเจ็ดตัว
(30). กรัก
เรียกอีกชื่อว่า แก่นขนุน
(31). ปู่เจ้าลอยท่า
เรียกอีกชื่อว่า หญ้าพองลม
(32). ตะลุ่มนก
เรียกอีกชื่อว่า กำแพงเจ็ดชั้น
(33). กาจับหลัก, หญ้าสองปล้อง
เรียกอีกชื่อว่า กาสามปีก
(34). หัวร้อยรู
เรียกอีกชื่อว่า กระเช้าผีมด
(35). พระยาช้างเผือก
เรียกอีกชื่อว่า ต้นกำลังช้างเผือก
(36). กำลังทรพี
เรียกอีกชื่อว่า ต้นกำลังวัวเถลิง
(37). กำลังพระยาเสือโคร่ง
เรียกอีกชื่อว่า ต้นกำลังเสือโคร่ง
(38). กำลังราชสีห์
เรียกอีกชื่อว่า ต้นกำลังหนุมาน
(39). ตำเสา
เรียกอีกชื่อว่า
แก่นกันเกรา (กันเกรา)
(40). ผักหนอก
เรียกอีกชื่อว่า บัวบก
(41). หนอนตายหยากแดง
เรียกอีกชื่อว่า ขอบชะนางแดง
(42). หนอนตายหยากขาว
เรียกอีกชื่อว่า ขอบชะนางขาว
(43). ดอกขจร
เรียกอีกชื่อว่า ดอกสลิด
(44). สุพันนิกา
เรียกอีกชื่อว่า ต้นกรรณิกา
(45). คำยอง
เรียกอีกชื่อว่า ดอกคำฝอย
(46). ดอกชาติ
เรียกอีกชื่อว่า ดอกคำไทย
(47). ต้นคว่ำตายหงายเป็น
เรียกอีกชื่อว่า
ฆ้องสามย่านตัวผู้ (นิลพัต)
(48). ต้นแก้มคอ (แก้มหมอ)
เรียกอีกชื่อว่า ต้นเหงือกปลาหมอ
(49). ส้มกระเช้า
เรียกอีกชื่อว่า ต้นฆ้องสามย่าน
(50). ก้ามกราม, ก้ามปู
เรียกอีกชื่อว่า ต้นจามจุรี
(51). หนามคาใบ
เรียกอีกชื่อว่า ต้นช้างงาเดียว
(52). เถาเอ็นอ่อน
เรียกอีกชื่อว่า ต้นตีนเป็ดเครือ
(53). พระยาสัตบัน
เรียกอีกชื่อว่า ต้นตีนเป็ดต้น
(54). พะเนียงน้ำ
เรียกอีกชื่อว่า ต้นตีนเป็นน้ำ
(55). ยี่หร่า
เรียกอีกชื่อว่า เม็ดเทียนขาว
(56). ผักชีลาว
เรียกอีกชื่อว่า เทียนตาตั๊กแตน
(57). ผักชีกระเหรี่ยง
เรียกอีกชื่อว่า ต้นเทียนเยาวพาณี
(58). โคมจีน, โคมญี่ปุ่น
เรียกอีกชื่อว่า ต้นโทงเทง
(59). ลิ้นงูเห่า
เรียกอีกชื่อว่า ต้นทองระอา
(60). ไปนิพพานไม่รู้กลับ
เรียกอีกชื่อว่า ผักเสี้ยนผี
(61). โล่ติ๊น
เรียกอีกชื่อว่า หางไหลขาว
(62). กะลำเพาะ
เรียกอีกชื่อว่า หางไหลแดง
(63). ลูกสมอไทย
เรียกอีกชื่อว่า สมออัพยา
(64). สมอร่องแร่ง คือ
ลูกสมอชนิดหนึ่งก้านยาว
ห้อยร่องแร่งอยู่
(65). บอระเพ็ดตัวผู้ คือเถาชิงช้าชาลี
(65 ก). บอระเพ็ดตัวเมีย คือ
เถาบอระเพ็ดที่มีตุ่ม
--------------------------------------------------
ความรู้พื้นฐาน ประวัติการแพทย์แผนไทย
จรรยาแพทย์ และจรรยาเภสัช
หลักเภสัช 4
ประวัติเบญจกูล
https://thaitraditionalmedicinebook.blogspot.com/2014/01/blog-post_8382.html
https://suchartpoovarat.blogspot.com/2022/02/blog-post_21.html
https://suchartpoovarat.blogspot.com/2022/02/blog-post_23.html
https://thaitraditionalmedicinebook.blogspot.com/2014/01/blog-post_22.html
เภสัชกรรมไทย เภสัชวัตถุ
ประเภทพืชวัตถุ จำพวกต้น
(กรรณิกา-คางแดง)
https://thaitraditionalmedicinebook.blogspot.com/2014/01/blog-post_53.html
ศูนย์การแพทย์แผนไทยภูเก็ต
และสมุนไพร
--------------------------------------------------
อ้างอิง: ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม
กองการประกอบโรคศิลปะ
Credit: ภาพนำมาจาก internet ซึ่ง share กันใน Google, Face Book และได้ถ่ายทำเองบ้าง เพื่อการศึกษาแพทย์แผนไทยให้ง่ายขึ้น เป็นการสืบทอดต่อไปยังอนุชน และผู้สนใจ ให้มีความรู้ในการรักษาบำบัดโรคพึ่งพาตนเองได้ ขอขอบคุณเจ้าของภาพ ขอให้อนุโมทนาส่วนบุญกุศล เจริญด้วยอายุ วรรณะ สุขัง พลัง และสมปรารถนาในสิ่งที่ดีงามโดยทั่วกันทุกท่าน เทอญ
No comments:
Post a Comment